การสานกระติบข้าว

ข้อมูลผลงาน

  945      1,447
 
Creative Commons License
การสานกระติบข้าว is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 3.0 Thailand License.
หัวเรื่อง :  การสานกระติบข้าว
คำอธิบาย :  กระติบข้าว\nสถานที่ หมู่บ้านคำด้วง ตำบลคำด้วง อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี\nข้อมูลเจ้าของภูมิปัญญา \nชื่อเจ้าของภูมิปัญญา นายบุญตุ้ม แสงสว่าง \nที่อยู่ 107 หมู่ 1 ตำบลคำด้วง อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี 41160 \nอาชีพ ทำนา อายุการศึกษาภูมิปัญญา 15 ปี \n\nชื่อภูมิปัญญา กระติบข้าว\nประวัติข้อมูลภูมิปัญญา \n คุณตาบุญตุ้ม แสงสว่าง เกิดที่หมู่บ้านคำด้วง บ้านเลขที่ 107 หมู่ที่ 10 ตำบลคำด้วง อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ได้กล่าวประวัติข้อมูลเรื่อง คุณตาบุญตุ้มได้เห็นบรรพบุรุษสานกระติบก็ได้เกิดความชอบ อยากรู้อยากเห็นในวิธีการทำกระติบข้าว ต่อมาได้ทดลองทำด้วยตนเองจนเกิดความเชี่ยวชาญมานานถึง 15 ปี จนถึงปัจจุบัน และการสานกระติบข้าวนี้ได้สร้างรายได้ให้กับคุณตาบุญตุ้มอีกด้วย \n (นายบุญตุ้ม แสงสว่าง, ตุลาคม 2560:สัมภาษณ์)\n\nกำหนดความรู้/แสวงหาความรู้ (ภายใน/ภายนอก)\nเกิดจากการเรียนรู้ด้วยตนเอง จากพื้นฐานใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ค้นคว้าหาวิธีการด้วยตนเองทำให้เกิดความรู้ถึงการออกแบบในการทำ และได้รับความรู้จากการถ่ายทอดต่อเนื่องมาจาก ปู่ ย่า จนมาสู่ลูกหลาน ทำให้เกิดได้รับประสบการณ์ตรง จนทำให้เกิดองค์ความรู้ในการประดิษฐ์และการจัดการ\n(นายบุญตุ้ม แสงสว่าง, ตุลาคม 2560:สัมภาษณ์)\n\n\n\n\n\n\n\n\n\n\n\nการสร้างความรู้ (ขั้นตอน/วิธีการการสร้างภูมิปัญญา)\n \nขั้นตอนที่ 1 เลื่อยไม้เป็นท่อน ๆ ขั้นตอนที่ 2 ผ่าไม้ ขั้นตอนที่ 3 จักตอก\n \nขั้นตอนที่ 4 เหลาตอกให้เรียบ ได้ตอกตามที่ต้องการ ขั้นตอนที่ 5 เริ่มก่อตัวกระติบข้าว \n \nขั้นตอนที่ 6 สานฝาตุให้ได้ขนาด ขั้นตอนสุดท้าย เย็บฝาตุติดกับกระติบข้าว\n \n\nการจัดเก็บและการค้นคืนความรู้ (การจดจำ/เอกสาร/ฐานข้อมูล)\n การเรียนรู้ด้วยตัวเองจากบรรพบุรุษ\n\n\n\nการถ่ายทอดความรู้และการใช้ประโยชน์ (ซึมซับไว้กับตนเอง หรือ เผยความรู้ให้แก่องค์กร)\nการถ่ายทอดภูมิปัญญาโดยอาศัยหลักการจำจดเอง คือได้มีการฝึกทำและทดลองทำอยู่ทุกวันจนเกิดความเคยชิ้นสุดท้ายก็เกิดเป็นผลงานที่มีประสิทธิภาพขึ้น\n\n\n\n\n\n\nพิกัด (สถานที่)\n\n \nข้อมูลผู้ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น ปีการศึกษา 2560\nชื่อผู้ศึกษา นางสาว ชนินทร์ทิพย์ พรหมกูล \nหลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู (ป.บัณฑิต) รุ่น 4 Section 6 \nรายวิชา ความเป็นครู (800 5201) \nเน้นศึกษา ครูกับการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น \nคณะ ศึกษาศาสตร์ \nสถานที่ศึกษา มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ\nสถานที่ทำงาน โรงเรียนบ้านเสียว\nอาจารย์ผู้สอน\n1 รองศาสตราจารย์ สำเร็จ คำโมง (ครูภูมิปัญญาไทย, ศิลปินมรดกอีสาน)\n2 อาจารย์ ดร.พา อักษรเสือ\n3 อาจารย์ ดร.ธีรภัทร โคตรบรรเทา\n4 อาจารย์ สุชาดา ลดาวัลย์\n5 อาจารย์ อัจฉริยะ วงษ์คำซาว\n6 อาจารย์ บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย\nhttps://youtu.be/w6NPEZo8ajQ
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :   ครู / อาจารย์, นักเรียน / นักศึกษา, ทั่วไป, ผู้ปกครอง
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :  บุญตุ้ม แสงสว่าง
ผู้สร้างสรรค์ร่วม/ผู้แต่งร่วม/เจ้าของผลงานร่วม :   ชนินทร์ทิพย์ พรหมกูล, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คำสำคัญ :   การสานกระติบข้าว, ภูมิปัญญาท้องถิ่น, จักสาน, กระติบข้าว, กล่องข้าวเหนียว, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
URL  :   https://youtu.be/w6NPEZo8ajQ
จำแนกตามระดับชั้น :   ประถมศึกษาปีที่ 1 (ป. 1), ประถมศึกษาปีที่ 2 (ป. 2), ประถมศึกษาปีที่ 3 (ป. 3), ประถมศึกษาปีที่ 4 (ป. 4), ประถมศึกษาปีที่ 5 (ป. 5), ประถมศึกษาปีที่ 6 (ป. 6), มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม. 1), มัธยมศึกษาปีที่ 2 (ม. 2), มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม. 3), มัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม. 4), มัธยมศึกษาปีที่ 5 (ม. 5), มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม. 6), ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.), การศึกษาตามอัธยาศัย
จำแนกตามสาขาวิชาของสื่อ :   การงานอาชีพและเทคโนโลยี, สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม, ศิลปะ
จำแนกตามลักษณะของสื่อ :   VDO Clip, ข้อมูลปฐมภูมิ , รูปภาพ, ใบงาน
 

  ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง