ชนินทร์ทิพย์ พรหมกูล

ผลงานที่ได้รับความนิยมสูงสุด
  945       1,447

-  File 1
-  File 2
-  File 3
-  File 4
-  File 5
-  File 6
-  File 7
-  File 8
-  File 9
-  File 10
หัวเรื่อง :  การสานกระติบข้าว
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :   ครู / อาจารย์, นักเรียน / นักศึกษา, ทั่วไป, ผู้ปกครอง
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :  บุญตุ้ม แสงสว่าง
เจ้าของผลงานร่วม :   ชนินทร์ทิพย์ พรหมกูล, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คำสำคัญ :   การสานกระติบข้าว, ภูมิปัญญาท้องถิ่น, จักสาน, กระติบข้าว, กล่องข้าวเหนียว, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คำอธิบาย :  กระติบข้าว
สถานที่ หมู่บ้านคำด้วง ตำบลคำด้วง อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี
ข้อมูลเจ้าของภูมิปัญญา
ชื่อเจ้าของภูมิปัญญา นายบุญตุ้ม แสงสว่าง
ที่อยู่ 107 หมู่ 1 ตำบลคำด้วง อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี 41160
อาชีพ ทำนา อายุการศึกษาภูมิปัญญา 15 ปี

ชื่อภูมิปัญญา กระติบข้าว
ประวัติข้อมูลภูมิปัญญา
คุณตาบุญตุ้ม แสงสว่าง เกิดที่หมู่บ้านคำด้วง บ้านเลขที่ 107 หมู่ที่ 10 ตำบลคำด้วง อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ได้กล่าวประวัติข้อมูลเรื่อง คุณตาบุญตุ้มได้เห็นบรรพบุรุษสานกระติบก็ได้เกิดความชอบ อยากรู้อยากเห็นในวิธีการทำกระติบข้าว ต่อมาได้ทดลองทำด้วยตนเองจนเกิดความเชี่ยวชาญมานานถึง 15 ปี จนถึงปัจจุบัน และการสานกระติบข้าวนี้ได้สร้างรายได้ให้กับคุณตาบุญตุ้มอีกด้วย
(นายบุญตุ้ม แสงสว่าง, ตุลาคม 2560:สัมภาษณ์)

กำหนดความรู้/แสวงหาความรู้ (ภายใน/ภายนอก)
เกิดจากการเรียนรู้ด้วยตนเอง จากพื้นฐานใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ค้นคว้าหาวิธีการด้วยตนเองทำให้เกิดความรู้ถึงการออกแบบในการทำ และได้รับความรู้จากการถ่ายทอดต่อเนื่องมาจาก ปู่ ย่า จนมาสู่ลูกหลาน ทำให้เกิดได้รับประสบการณ์ตรง จนทำให้เกิดองค์ความรู้ในการประดิษฐ์และการจัดการ
(นายบุญตุ้ม แสงสว่าง, ตุลาคม 2560:สัมภาษณ์)











การสร้างความรู้ (ขั้นตอน/วิธีการการสร้างภูมิปัญญา)

ขั้นตอนที่ 1 เลื่อยไม้เป็นท่อน ๆ ขั้นตอนที่ 2 ผ่าไม้ ขั้นตอนที่ 3 จักตอก

ขั้นตอนที่ 4 เหลาตอกให้เรียบ ได้ตอกตามที่ต้องการ ขั้นตอนที่ 5 เริ่มก่อตัวกระติบข้าว

ขั้นตอนที่ 6 สานฝาตุให้ได้ขนาด ขั้นตอนสุดท้าย เย็บฝาตุติดกับกระติบข้าว


การจัดเก็บและการค้นคืนความรู้ (การจดจำ/เอกสาร/ฐานข้อมูล)
การเรียนรู้ด้วยตัวเองจากบรรพบุรุษ



การถ่ายทอดความรู้และการใช้ประโยชน์ (ซึมซับไว้กับตนเอง หรือ เผยความรู้ให้แก่องค์กร)
การถ่ายทอดภูมิปัญญาโดยอาศัยหลักการจำจดเอง คือได้มีการฝึกทำและทดลองทำอยู่ทุกวันจนเกิดความเคยชิ้นสุดท้ายก็เกิดเป็นผลงานที่มีประสิทธิภาพขึ้น






พิกัด (สถานที่)


ข้อมูลผู้ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น ปีการศึกษา 2560
ชื่อผู้ศึกษา นางสาว ชนินทร์ทิพย์ พรหมกูล
หลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู (ป.บัณฑิต) รุ่น 4 Section 6
รายวิชา ความเป็นครู (800 5201)
เน้นศึกษา ครูกับการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น
คณะ ศึกษาศาสตร์
สถานที่ศึกษา มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สถานที่ทำงาน โรงเรียนบ้านเสียว
อาจารย์ผู้สอน
1 รองศาสตราจารย์ สำเร็จ คำโมง (ครูภูมิปัญญาไทย, ศิลปินมรดกอีสาน)
2 อาจารย์ ดร.พา อักษรเสือ
3 อาจารย์ ดร.ธีรภัทร โคตรบรรเทา
4 อาจารย์ สุชาดา ลดาวัลย์
5 อาจารย์ อัจฉริยะ วงษ์คำซาว
6 อาจารย์ บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย
https://youtu.be/w6NPEZo8ajQ
จำแนกตามระดับชั้น :   ประถมศึกษาปีที่ 1 (ป. 1), ประถมศึกษาปีที่ 2 (ป. 2), ประถมศึกษาปีที่ 3 (ป. 3), ประถมศึกษาปีที่ 4 (ป. 4), ประถมศึกษาปีที่ 5 (ป. 5), ประถมศึกษาปีที่ 6 (ป. 6), มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม. 1), มัธยมศึกษาปีที่ 2 (ม. 2), มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม. 3), มัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม. 4), มัธยมศึกษาปีที่ 5 (ม. 5), มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม. 6), ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.), ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) , การศึกษาตามอัธยาศัย
จำแนกตามสาขาวิชาของสื่อ :   การงานอาชีพและเทคโนโลยี, สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม, ศิลปะ
จำแนกตามลักษณะของสื่อ :   VDO Clip, ข้อมูลปฐมภูมิ , รูปภาพ, ใบงาน
ผลงานที่ได้รับความนิยมสูงสุด 5 อันดับ
การสานกระติบข้าว 945

ผลงาน 5 อันดับล่าสุด
การสานกระติบข้าว 13 พฤษภาคม 2561
จำนวนไฟล์จำแนกตามประเภท
จำนวนข้อมูลจำแนกตามระดับชั้น
จำนวนข้อมูลจำแนกตามประเภทบุคคล
ผลงานทั้งหมด
# ชื่อเรื่อง ผู้เข้าชม #
1 การสานกระติบข้าว 945