การทำเครื่องจักสาน(กระด้ง)

ข้อมูลผลงาน

  3,755      2,592
 
Creative Commons License
การทำเครื่องจักสาน(กระด้ง) is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 3.0 Thailand License.
หัวเรื่อง :  การทำเครื่องจักสาน(กระด้ง)
คำอธิบาย :  ภูมิปัญญาท้องถิ่น : การทำเครื่องจักสาน(กระด้ง)\n38 หมู่ 1 ตำบลบ้านไผ่ อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น\nข้อมูลเจ้าของภูมิปัญญา \nชื่อเจ้าของภูมิปัญญา นายสาย กระบัตรทอง อายุ 70 ปี \nที่อยู่ 38 หมู่ 1 ตำบลบ้านไผ่ อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น \nอาชีพ รับจ้างทั่วไป อายุการศึกษาภูมิปัญญา 25 ปี \nชื่อภูมิปัญญา การทำเครื่องจักสาน(กระด้ง)\nประวัติข้อมูลภูมิปัญญา\n นายสาย กระบัตรทอง อายุ 70 ปี อาชีพรับจ้างทั่วไป เดิมทีเป็นชาวโคราช(นครราชสีมา) แต่งงานกับภรรยาคนแรกเป็นชาวนครราชมา และมีพ่อตาทำอาชีพทำเครื่องจักสาน ด้วยความที่มีพ่อตาทำอาชีพจักสานตนจึงได้ทดลองทำตามด้วยการลองผิดดลองถูกและต่อมาได้พ่อตาให้คำแนะนำและสอนการทำเครื่องจักสานด้วยไม่ไผ่ (นายสาย กระบัตรทอง, พฤศจิกายน 2560: สัมภาษณ์)\nกำหนดความรู้/แสวงหาความรู้ (ภายใน/ภายนอก)\n ครูผู้สอนการทำเครื่องจักสาน(กระด้ง) คือ นายลือ ซึ่งเป็นพ่อตาของ นายสาย กระบัตรทอง มีภูมิลำเนาอยู่จังหวัดนครราชสีมา และนายสาย ได้แสวงหาลายใหม่ๆ จากรถเร่ขายเครื่องจักสานและได้ทดลองทำเอง จนเป็นผลทำให้นายสายมีรายได้เสริม จากการทำเครื่องจักสาน(กระด้ง) จนปัจจุบัน\n\nการสร้างความรู้ (ขั้นตอน/วิธีการการสร้างภูมิปัญญา)\n\n \n\nขั้นตอนที่ 1 ตัดไม้ไผ่ที่แก่แล้วนำมาเหลาเป็นเส้น ยาวตามเส้นผ่านศูนย์กลางขนาดของกระด้ง\n\n\n\n\n \n \nขั้นตอนที่ 2 ขึ้นรูปตามต้องการ\n\n \n\nชั้นตอนที่3 ใช้ไม้ไผ่และเชือกในล่อนในการทำขอบกระด้งและยึดให้แน่นหนา\n\n\n\nการจัดเก็บและการค้นคืนความรู้ (การจดจำ/เอกสาร/ฐานข้อมูล)\nภูมิปัญญาท้องถิ่น การทำเครื่องจักสาน(กระด้ง) ของนายสาย ไม่มีการเก็บข้อมูลในรูปแบบ หรือเอกสารต่างๆ มีเพียงการจดจำที่ทำให้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น การทำเครื่องจักสาน(กระด้ง) อยู่มาจนถึงปัจจุบันนี้\nการถ่ายทอดความรู้และการใช้ประโยชน์ (ซึมซับไว้กับตนเอง หรือ เผยความรู้ให้แก่องค์กร)\nภูมิปัญญาท้องถิ่น การทำเครื่องจักสาน(กระด้ง) ของนายสาย ได้ซึมซับไว้กับตนเองแต่หาผู้ที่สนใจ ก็พร้อมที่จะถ่ายทอดเพื่อเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ลูกหลานของเราต่อไป\nพิกัด (สถานที่)\n\n \n\n \nข้อมูลผู้ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น ปีการศึกษา 2560\nชื่อผู้ศึกษา นายภัทรพล พลป้อง 6080110170 Sec.6 \nหลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู (ป.บัณฑิต) รุ่น 4 \nรายวิชา ความเป็นครู (800 5201) \nเน้นศึกษา ครูกับการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น \nคณะ ศึกษาศาสตร์ \nสถานที่ศึกษา มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ\nสถานที่ทำงาน กศน.อำเภอบ้านไผ่\nอาจารย์ผู้สอน\n1 รองศาสตราจารย์ สำเร็จ คำโมง(ครูภูมิปัญญาไทย, ศิลปินมรดกอีสาน)\n2 อาจารย์ ดร.พา อักษรเสือ\n3 อาจารย์ ดร.ธีรภัทร โคตรบรรเทา\n4 อาจารย์ สุชาดา ลดาวัลย์\n5 อาจารย์ อัจฉริยะ วงษ์คำซาว\n6 อาจารย์ บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย\nhttps://youtu.be/1wzkjmu6W9o
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :   ครู / อาจารย์, นักเรียน / นักศึกษา, ทั่วไป, ผู้ปกครอง
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :  สาย กระบัตรทอง
ผู้สร้างสรรค์ร่วม/ผู้แต่งร่วม/เจ้าของผลงานร่วม :   ภัทรพล พลป้อง, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คำสำคัญ :   การทำเครื่องจักสาน(กระด้ง), มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, การสานกระด้ง, กระด้ง, ภูมิปัญญาท้องถิ่น
URL  :   https://youtu.be/1wzkjmu6W9o
จำแนกตามระดับชั้น :   ประถมศึกษาปีที่ 1 (ป. 1), ประถมศึกษาปีที่ 2 (ป. 2), ประถมศึกษาปีที่ 3 (ป. 3), ประถมศึกษาปีที่ 4 (ป. 4), ประถมศึกษาปีที่ 5 (ป. 5), ประถมศึกษาปีที่ 6 (ป. 6), มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม. 1), มัธยมศึกษาปีที่ 2 (ม. 2), มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม. 3), มัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม. 4), มัธยมศึกษาปีที่ 5 (ม. 5), มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม. 6), ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.), การศึกษาตามอัธยาศัย
จำแนกตามสาขาวิชาของสื่อ :   การงานอาชีพและเทคโนโลยี, สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม, ศิลปะ
จำแนกตามลักษณะของสื่อ :   VDO Clip, ข้อมูลปฐมภูมิ , รูปภาพ, ใบงาน
 

  ทรัพยากรที่เกี่ยวข้อง