เส้นขนมจีน

ข้อมูลผลงาน

  707      2,344
 
Creative Commons License
เส้นขนมจีน is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 3.0 Thailand License.
หัวเรื่อง :  เส้นขนมจีน
คำอธิบาย :  ขนมจีน (ข้าวปุ้น)\\\\nตำบลกุดน้ำใส อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น\\\\nข้อมูลเจ้าของภูมิปัญญา \\\\nชื่อเจ้าของภูมิปัญญา นางคำจันทร์ คำอ้อ อายุ 47 ปี\\\\nนางเพชรสุวรรณ คำเรืองศรี อายุ 48 ปี\\\\nนายนิรัตน์ คำอ้อ อายุ 50 ปี\\\\nด.ช.ปิติพงษ์ เจ็กมา อายุ 14 ปี \\\\nที่อยู่ บ้านเลขที่ 266 หมู่ 1 ตำบลกุดน้ำใส อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น \\\\nอาชีพ ค้าขาย อายุการศึกษาภูมิปัญญา 23 ปี \\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n \\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\nชื่อภูมิปัญญา ขนมจีน (ข้าวปุ้น)\\\\nประวัติข้อมูลภูมิปัญญา \\\\n \\\\n เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2536 ได้มีเจ้าของกิจการเดิม(เจ้าของภูมิปัญญาได้ย้ายรกรากออกจากภูมิลำเนาไปแล้ว) ซึ่งนางคำจันทร์ คำอ้อ ได้ซื้อต่อกิจการเนื่องจากเป็นคนในหมู่บ้านเดียวกันและได้มองเห็นว่าสามารถเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว ทั้งนี้จะทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการทำไร่ ทำนา ทำเกษตรต่างๆ โดยนางคำจันทร์ คำอ้อได้เรียนรู้กรรมวิธีในการทำขนมจีน(ข้าวปุ้น) จากเจ้าของกิจการเดิมสืบเนื่องมาเป็นภูมิปัญญาสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบันเป็นเวลาทั้งสิ้น 23 ปีแล้ว (รัตนาภา สีหานาม,พฤศจิกายน 2560,สัมภาษณ์)\\\\n\\\\nกำหนดความรู้/แสวงหาความรู้ (ภายใน/ภายนอก)\\\\n นางคำจันทร์ คำอ้อ อายุ 47 ปี อาชีพเกษตร บ้านเลขที่ 266 หมู่ 1 ตำบลกุดน้ำใส อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น ได้เริ่มหัดทำเส้นขนมจีน(ข้าวปุ้น) จากคนที่อยู่จักในหมู่บ้านเดี่ยวกัน จนกระทั้งนางคำจันทร์ คำอ้อ ได้ซื้อกิจการมาเป็นของตนเอง และได้มีการปรับปรุงสูตรเพิ่มเติม เพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการของตลาด นอกจากนี้นางคำจันทร์ คำอ้อ ยังได้ถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับสมาชิกภายในครอบครัวเพื่อให้เป็นอาชีพต่อไป\\\\nการสร้างความรู้ (ขั้นตอน/วิธีการการสร้างภูมิปัญญา)\\\\n1. เตรียมอุปกรณ์ดังนี้\\\\n1.1 แป้งดิบขนมจีน: เป็นวัตถุดิบหลักของการทำขนมจีน(ข้าวปุ้น) แต่ต้องผ่านการต้ม\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n1.2 แป้งมัน: ใช่เป็นส่วนผสมในการนวดแป้งให้มีความเหนียวหนึบ\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n1.2 เกลือเม็ด: นำไปโรยในหม้อต้มเพื่อเพิ่มความเดือดของน้ำให้ร้อนจัด\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n2. ขั้นตอนการทำขั้นที่ 1 : ขั้นตอนของการนำเอาแป้งดิบที่เป็นวัตถุดิบหลักลงต้มด้วยน้ำเดือดโดยใช้เวลาต้ม 15 นาที \\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n3. ขั้นตอนการทำขั้นที่ 2 : ขั้นตอนของการนำเอาแป้งที่ต้มแล้วมานวดโดยใช้ส่วนผสมของของ\\\\nแป้ง 2 ชนิดมาผสมกัน คือแป้งขนมจีนและแป้งมัน จากนั้นทำการนวดจนแป้งนุ่ม ใช้เวลา 45 นาที ในขณะที่นวดต้องคอยเติมน้ำไปเลื่อยๆ เพื่อให้ได้แป้งที่นุ่ม เป็นเส้นสวยงาม\\\\n\\\\n \\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n4. ขั้นตอนการทำขั้นที่ 3 : ขั้นตอนของการนำเอาแป้งที่นวดเสร็จเรียบร้อยออกจากเครื่องนวดแล้วนำมากรองให้ได้เนื้อแป้งที่เนียนละเอียด และทำให้เส้นได้ขาวและใสมากยิ่งขึ้น พร้อมกับนำเนื้อแป้งเข้าเครื่องโรยเส้น\\\\n\\\\n \\\\n\\\\n\\\\n5. ขั้นตอนการทำขั้นที่ 4 : ขั้นตอนของการโรยเส้นขนมจีน(ข้าวปุ้น) ขั้นตอนนี้นับว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญ เพราะหากโรยเส้นลงไปในน้ำที่ยังไม่ร้อน เส้นข้าวปุ้นจะไม่เป็นเส้นและไม่ฟูขึ้นมา และเมื้อเห็นเส้นข้าวปุ้นที่โรยลงไปในน้ำ จากนั้นใช้กระชอน ช้อนขั้นมาล้างด้วยน้ำสะอาด 2 รอบ\\\\n\\\\n \\\\n \\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n6. ขั้นตอนการทำขั้นที่ 5 : ขั้นตอนของการจับเส้นขนมจีน(ข้าวปุ้น) ให้เป็นจีบสวยงามใส่ภาชนะที่จัดเตรียมพร้อมออกจำหน่าย\\\\n\\\\n \\\\n\\\\nรูปภาพขนมจีน(ข้าวปุ้น) พร้อมจำหน่าย\\\\n\\\\n \\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\nการจัดเก็บและการค้นคืนความรู้ (การจดจำ/เอกสาร/ฐานข้อมูล)\\\\n การถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาการทำขนมจีน(ข้าวปุ้น)นั้น จะใช้วิธีการถ่ายทอดให้กับสมาชิกภายในครอบครัวเดียวกันเพื่อเรียนรู้ต่อกันไปเรื่อยๆ จึงไม่เป็นที่กังวนว่าจะขัดแยงกับอาชีพหรือเป็น๕แข่งในการผลิตขนมจีนเพื่อออกจำหน่ายในท้องตลาด \\\\n\\\\nการถ่ายทอดความรู้และการใช้ประโยชน์ (ซึมซับไว้กับตนเอง หรือ เผยความรู้ให้แก่องค์กร)\\\\n ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำขนมจีน(ข้าวปุ้น)ได้รับการถ่ายทอดมาจากนางคำจันทร์ คำอ้อ ซึ่งได้ถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับลูกหลานในครอบครัวของตนเอง โดยทำให้สร้างอาชีพและมีรายได้เพิ่มขึ้น ที่สำคัญได้ส่งเสริมภูมิปัญญาของตนเองไว้สืบทอดให้ลูกหลายต่อไป\\\\n\\\\nพิกัด (สถานที่)\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\n\\\\nข้อมูลผู้ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น ปีการศึกษา 2560\\\\nชื่อผู้ศึกษา นางสาวรัตนาภา สีหานาม \\\\nหลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู (ป.บัณฑิต) รุ่น 4 \\\\nรายวิชา ความเป็นครู (800 5201) \\\\nเน้นศึกษา ครูกับการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น \\\\nคณะ ศึกษาศาสตร์ \\\\nสถานที่ศึกษา มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ\\\\nสถานที่ทำงาน โรงเรียนน้ำพองศึกษา\\\\n 900 หมู่ 10 ตำบลวังชัย อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น 40140\\\\nอาจารย์ผู้สอน\\\\n1 รองศาสตราจารย์ สำเร็จ คำโมง (ครูภูมิปัญญาไทย, ศิลปินมรดกอีสาน)\\\\n2 อาจารย์ ดร.พา อักษรเสือ\\\\n3 อาจารย์ ดร.ธีรภัทร โคตรบรรเทา\\\\n4 อาจารย์ สุชาดา ลดาวัลย์\\\\n5 อาจารย์ อัจฉริยะ วงษ์คำซาว\\\\n6 อาจารย์ บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :   ทั่วไป
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :  คำจันทร์ คำอ้อ
ผู้สร้างสรรค์ร่วม/ผู้แต่งร่วม/เจ้าของผลงานร่วม :   รัตนาภา สีหานาม, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คำสำคัญ :   เส้นขนมจีน, ขนมจีน, ข้าวปุ้น, ภูมิปัญญาท้องถิ่น, ภูมิปัญญาไทย, ภูมิปัญญาชาวบ้าน, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
URL  :   -
จำแนกตามระดับชั้น :   ประถมศึกษาปีที่ 1 (ป. 1), ประถมศึกษาปีที่ 2 (ป. 2), ประถมศึกษาปีที่ 3 (ป. 3), ประถมศึกษาปีที่ 4 (ป. 4), ประถมศึกษาปีที่ 5 (ป. 5), ประถมศึกษาปีที่ 6 (ป. 6), มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ม. 1), มัธยมศึกษาปีที่ 2 (ม. 2), มัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม. 3), มัธยมศึกษาปีที่ 4 (ม. 4), มัธยมศึกษาปีที่ 5 (ม. 5), มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม. 6), ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.), การศึกษาตามอัธยาศัย
จำแนกตามสาขาวิชาของสื่อ :   การงานอาชีพและเทคโนโลยี, สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
จำแนกตามลักษณะของสื่อ :   VDO Clip, ข้อมูลปฐมภูมิ , รูปภาพ, ใบงาน