วันชัย มาตเจริญ

ผลงานที่ได้รับความนิยมสูงสุด
  442       996

-  File 1
-  File 2
-  File 3
-  File 4
-  File 5
-  File 6
-  File 7
-  File 8
-  File 9
-  File 10
-  File 11
หัวเรื่อง :  การทำนาบัว
สื่อสำหรับบุคคลประเภท :   ครู / อาจารย์, นักเรียน / นักศึกษา, ทั่วไป, ผู้ปกครอง
ผู้สร้างสรรค์/ผู้แต่ง/เจ้าของผลงาน :  วิเชียร กุดแถลง
เจ้าของผลงานร่วม :   วันชัย มาตเจริญ, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คำสำคัญ :   มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, การทำนาบัว, นาบัว, การปลูกบัว, ภูมิปัญญาท้องถิ่น
คำอธิบาย :  ชื่อหัวข้อภูมิปัญญา : การทำนาบัว\
16 หมู่ 13 ตำบลเชียงพิณ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี\
ข้อมูลเจ้าของภูมิปัญญา \
ชื่อเจ้าของภูมิปัญญา นายวิเชียร กุดแถลง \
ที่อยู่ 16 หมู่ 13 ตำบลเชียงพิณ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี \
อาชีพ ทำนา อายุการศึกษาภูมิปัญญา 45 ปี \
\
ชื่อภูมิปัญญา การทำนาบัว\
ประวัติข้อมูลภูมิปัญญา \
การทำนาบัว สืบเนื่องมาจากการทำนาข้าวไม่ประสบผลสำเร็จ ขาดทุนทุกปีก็เลยหันมาปลูกบัวจากเนื้อที่ 1 งาน จากนั้นถึงฤดูเก็บเกี่ยวบัว ก็เห็นว่ามีรายได้ดี มีการเก็บผลผลิตตลอดทั้งปี จึงเลิกทำนาข้าวและได้หันมาทำนาบัวแทน จนถึงทุกวันนี้ และถือว่าเป็นการสร้างอาชีพเสริมที่ดีและเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของเราต่อไป (วิเชียร กุดแถลง, พฤศจิกายน 2560 : สัมภาษณ์)\
\
\
กำหนดความรู้/แสวงหาความรู้ (ภายใน/ภายนอก)\
สืบเนื่องจากคนไทยส่วนมากนับถือศาสนาพุทธ ดอกบัวจึงเป็นสิ่งที่ใช้กราบไหว้บูชาพระ ในทุกๆวันพระ หรือวันสำคัญทางศาสนาหรืออาจทุกๆวันที่มีการเข้าวัดทำบุญตักบาตร จึงทำให้มีการสืบทอดการทำนาบัวมาตั้งแต่ในอดีต และได้สืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน\
\
\
การสร้างความรู้ (ขั้นตอน/วิธีการการสร้างภูมิปัญญา)\
\
\
\
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมพื้นที่ปลูกยกคันดินเป็นคันนาโดยรอบพื้นที่ให้สูงประมาน 1.5 เมตร\
\
ขั้นตอนที่ 2 เก็บไหลจากแปลงบัวที่เพาะไว้หรือขอจากนาบัวจากคนอื่น แล้วขุดดินร่องลึกประมาณฝ่ามือ แล้วใช้ดินกลบ\
\
ขั้นตอนที่ 3 การให้น้ำหลังจากปลูกบัวเดือนแรกควรให้น้ำขังอยู่ในแปลงลึกประมาน 30 เซนติเมตร หลังจากนั้นปล่อยให้ลึกเพิ่มอีก 50-100 เซนติเมตรดามลำดับการโตของบัว\
\
ขั้นตอนที่ 4 การเก็บเกี่ยวดอกบัว จะเริ่มเก็บได้หลังจากปลูกได้ 3 เดือน\
\
การจัดเก็บและการค้นคืนความรู้ (การจดจำ/เอกสาร/ฐานข้อมูล)\
\
ภูมิปัญญาท้องถิ่น การทำนาบัว นี้ได้รับการถ่ายทอดจากแต่อดีตของคนในชุมชน ซึ่งได้ถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับลูกหลาน จึงทำให้ชาวบ้านมีอาชีพเสริมและการดำรงชีวิตที่พอเพียง ที่สำคัญได้ส่งเสริมภูมิปัญญาของหมู่บ้านตนเองไว้สืบทอดให้ลูกหลานของเราต่อไป\
\
\
\
การถ่ายทอดความรู้และการใช้ประโยชน์ (ซึมซับไว้กับตนเอง หรือ เผยความรู้ให้แก่องค์กร)\
\
การถ่ายทอดการทำนาบัวเป็นการถ่ายทอดให้กับประชาชนในหมู่บ้านหรือเพื่อนบ้านต่างๆที่สนใจในการทำนาบัวถือว่าเป็นการให้ความรู้กับผู้ที่สนใจ จะอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ลูกหลานของเราดูหรือสืบทอดต่อไป\
\
\
\
พิกัด (สถานที่) บ้านหนองโอน หมู่ที่ 13 ตำบลหนองเชียงพิณ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี\
\
ข้อมูลผู้ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น ปีการศึกษา 2560\
ชื่อผู้ศึกษา นายวันชัย มาตเจริญ \
หลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู (ป.บัณฑิต) รุ่น 4 \
รายวิชา ความเป็นครู (800 5201) \
เน้นศึกษา ครูกับการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น \
คณะ ศึกษาศาสตร์ \
สถานที่ศึกษา มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ\
สถานที่ทำงาน โรงเรียนภูมิพิชญ \
อาจารย์ผู้สอน\
1 รองศาสตราจารย์ สำเร็จ คำโมง (ครูภูมิปัญญาไทย, ศิลปินมรดกอีสาน)\
2 อาจารย์ ดร.พา อักษรเสือ\
3 อาจารย์ ดร.ธีรภัทร โคตรบรรเทา\
4 อาจารย์ สุชาดา ลดาวัลย์\
5 อาจารย์ อัจฉริยะ วงษ์คำซาว\
6 อาจารย์ บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย\
https://youtu.be/ZEHzLg-ggpc
จำแนกตามระดับชั้น :   ปริญญาตรี , ปริญญาโท, ปริญญาเอก, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) , ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.), ประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) , การศึกษาตามอัธยาศัย
จำแนกตามสาขาวิชาของสื่อ :   การงานอาชีพและเทคโนโลยี, สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
จำแนกตามลักษณะของสื่อ :   VDO Clip, ข้อมูลปฐมภูมิ , รูปภาพ, ใบงาน
ผลงานที่ได้รับความนิยมสูงสุด 5 อันดับ
การทำนาบัว 442

ผลงาน 5 อันดับล่าสุด
การทำนาบัว 13 พฤษภาคม 2561
จำนวนไฟล์จำแนกตามประเภท
จำนวนข้อมูลจำแนกตามระดับชั้น
จำนวนข้อมูลจำแนกตามประเภทบุคคล
ผลงานทั้งหมด
# ชื่อเรื่อง ผู้เข้าชม #
1 การทำนาบัว 442